ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

● ระบบจัดหาและจัดสรรทุนสนับสนุนการวิจัยและงานสร้างสรรค์

ขั้นตอนการจัดสรรทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณหน่วยงานภายนอก

ขั้นตอนการจัดสรรทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณกองทุนวิจัยและงานสร้างสรรค์

ขั้นตอนการจัดหาทุนสนับสนุนการวิจัยจากหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน

ระบบจัดการข้อมูลสารสนเทศภายในสถาบันวิจัยและพัฒนา
Management Information System (MIS)

เว็บไซต์ http://rd.vru.ac.th/mis/login.php

คู่มือการใช้งาน MIS รวมทั้งหมด

คู่มือการใช้งาน MIS สำหรับนักวิจัย

คู่มือการใช้งาน MIS สำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ

ระบบข้อมูลสารสนเทศวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ
National Research and Innovation Information System (NRIIS)

เว็บไซต์ https://www.nriis.in.th/release/Default.aspx

คู่มือระบบข้อมูลสารสนเทศวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ

ระบบและกลไกส่งเสริมสนับสนุนเพื่อการเผยแพร่ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์

ระบบฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลางของประเทศไทย
Thai Journals Online (ThaiJo)

เว็บไซต์ https://www.tci-thaijo.org/

คู่มือการใช้งานระบบThaiJo

การตีพิมพ์และเผยแพร่วารสารวิจัยและพัฒนา

วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เว็บไซต์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/vrurdistjournal/

ขั้นตอนการเผยแพร่งานวิจัยวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระบบการพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านการวิจัย

ระบบส่งเสริมความร่วมมือระหว่างนักวิจัยกับองค์กรภายนอกและระบบสนับสนุนความร่วมมือระหว่างนักวิจัยกับองค์การภายนอกสถาบันเพื่อการนำไปใช้ประโยชน์

ลงทะเบียนระบบ ThaiJo

ลงทะเบียนวารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ฯ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ขั้นตอนการส่งบทความ

● ระเบียบการตีพิมพ์บทความวิจัย

● แบบนำส่งบทความวิจัยลงตีพิมพ์เผยแพร่

● Template วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ฯ

เอกสารขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ / นานาชาติ

1.ประกาศคณะกรรมการกองทุนวิจัยฯ เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราการจ่ายเงินสนับสนุนฯ 2562

2.บันทึกขอรับการสนับสนุนงบประมาณ และขอไปราชการ เพื่อนำเสนอผลงานวิจัย

3.เอกสารแสดงสัดส่วนของผลงานบทความวิจัย

4.หนังสือยินยอม (กรณีสถานะของผู้นิพนธ์ไม่ใช่ First Auther)

5. หนังสือตอบรับจากหน่วยงานที่ขอไปนำเสนอ

6. กำหนดการงานที่ไปนำเสนอ

7. บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full-Paper)

เอกสารขอรับการสนับสนุนการเผยแพร่บทความวิจัย และ ขอเบิกเงินการเผยแพร่บทความวิจัย

1.ประกาศคณะกรรมการกองทุนวิจัยฯ เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราการจ่ายเงินสนับสนุนฯ 2562

2. บันทึกขอรับการสนับสนุนการเผยแพร่บทความวิจัย และ ขอเบิกเงินการเผยแพร่บทความวิจัย

3. เอกสารแสดงสัดส่วนของผลงานบทความวิจัย

4. หนังสือยินยอม (กรณีสถานะของผู้นิพนธ์ไม่ใช่ First Auther)

5. ปกวารสารที่ลงตีพิมพ์เผยแพร่

6. บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full-Paper)

7. ใบสำคัญรับเงิน (สำเนาบัตรประชาชน สำเนาหน้าบัญชี และเซ็นสำเนาถูกต้องทุกฉบับ)

8. หลักฐานแสดงสถานะ ฐานข้อมูลวารสาร

● ระบบและกลไกการสนับสนุนการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาและการคุ้มครองสิทธิ์

ขั้นตอนการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา

  1. อาจารย์/นักวิจัยสืบค้นข้อมูล โดยสามารถเข้าไปสืบค้นข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ https://www.ipthailand.go.th กดเลือกบริการออนไลน์ เลือก ระบบสืบค้นสอบถามข้อมูลการจดแจ้งลิขสิทธิ์/ระบบสืบค้น สิทธิบัตรทั่วโลก/เพื่อค้นหาทุกแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับลิขสิทธิ์/สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร กรอกข้อความหรือประโยคหรือคำที่ต้องการสืบค้น และเลือกการแสดงผลว่าต้องการทราบ อะไรบ้าง โดยเลือกหัวข้อที่ต้องการให้แสดงผล
  2. นักวิจัยแจ้งความจำนงขอยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา ต่อสถาบันวิจัยและพัฒนาผ่านคณะ โดยแนบเอกสาร แบบฟอร์มแจ้งความจำนงขอยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา จำนวน 1 ชุด พร้อมการโอนสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร (กรณีการจดสิทธิบัตร/ อนุสิทธิบัตร) และ หลักฐานประกอบแต่ละการยื่นจดทะเบียน ดูได้ที่ https://www.ipthailand.go.th
  3. สถาบันวิจัยและพัฒนารวบรวมเอกสารในการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนวิจัยเพื่อพิจารณาอนุมัติ
  4. อธิการบดี ลงนาม มอบหมายผู้แทนจากสถาบันวิจัยในการดำเนินการ
  5. สถาบันวิจัยและพัฒนายื่นแจ้งจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา
  6. สถาบันวิจัยและพัฒนาแจ้งผลให้อาจารย์/นักวิจัย และคณะ

ขั้นตอนการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

ขั้นตอนการยื่นจดทะเบียนสิทธิบัตร
กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์

การดำเนินงานเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

● ระบบและกลไกการยกย่องและประกาศเกียรติคุณผู้มีผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ดีเด่น

สนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในประเด็นต่อไปนี้

ห้องปฏิบัติการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ หรือหน่วยวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือศูนย์เครื่องมือ หรือศูนย์ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการวิจัย

ห้องปฏิบัติการวิจัย ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์ ที่ให้บริการด้านห้องปฏิบัติการ โดย ให้บริการกับนักศึกษา คณาจารย์ และนักวิจัย และมีระบบรักษาความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ โดยผ่านการประเมินความสามารถห้องปฏิบัติการ มาตรฐาน ISO/IEC 17025 : 2005 หมายเลขการรับรองระบบงานที่-0102 ออกให้ ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2559 ของสำนักบริหารและรับรองห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์บริการ ซึ่งมีข้อกำหนด กฎระเบียบ และเงื่อนไขการรับรองห้องปฏิบัติการครอบคลุมทุกด้าน ตั้งแต่ด้านการเตรียมตัวอย่างไปจนถึงความชำนาญในการวิเคราะห์ทดสอบ การเก็บบันทึกและรายงานผล ระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการ การควบคุมเอกสาร การปฏิบัติการแก้ไขและป้องกัน สถานที่และสภาพแวดล้อม เครื่องมือ รวมถึงการประมาณค่าความไม่แน่นอน เป็นต้น และยังมีระบบรักษาความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการโดยใช้ระบบคีย์การ์ดผ่านเข้า-ออก ภายหลังเวลาราชการ เป็นต้น

นอกจากนั้น คณะต่างๆ ยังให้บริการสิ่งสนับสนุนการวิจัยแก่คณาจารย์ นักศึกษา และบุคคลภายนอก ตามบริบทของคณะ เช่น คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถ. พหลโยธิน ก.ม.48 ประตูน้ำพระอินทร์ ปทุมธานี 13180 เป็นศูนย์เครื่องมือในการให้บริการทางด้านอุตสาหกรรมเกษตร เป็นต้น

ห้องปฎิบัติการวิจัย อาคารเรียนรวมวิทยาศาสตร์

ห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

มหาวิทยาลัยมีการให้บริการผ่านสำนักวิทยาบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ให้บริการหนังสือใหม่ผ่านทางห้องบรรณาภิรมย์ และหนังสือทั่วไปอื่นๆ ภายในห้องสมุด มีการสำรวจความต้องการทรัพยากร เช่น เอกสาร ตำรา ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน และการวิจัยผ่านทางสำนักวิทยบริการและสารสนเทศ ในการดำเนินการจัดซื้อต่อไป

สำหรับการค้นคว้าข้อมูลการวิจัย ผ่านรูปแบบต่างๆ และให้บริการฐานข้อมูลออนไลน์ทั้งแบบบอกรับสมาชิกและแบบได้รับการสนับสนุนจาก สกอ. ตลอดจนฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย ฐานข้อมูลการสืบค้นงานวิจัย เช่น Science Direct, pro Quest และยังมีสัญญาณ WiFi ทั่วทั้งมหาวิทยาลัย และติดตั้งภายในห้องต่างๆให้อาจารย์ได้ศึกษาค้นคว้าสืบค้นข้อมูลงานวิจัย ผ่านทาง web site และ web site สถาบันวิจัยและพัฒนา และ web site อื่นๆ และเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่คณาจารย์ นักศึกษา และนักวิจัย ในการสืบค้นข้อมูลดังกล่าวจากที่บ้าน ผ่านทาง VRU Library VPN (http://lib.vru.ac.th/)

สิ่งอำนวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ห้องจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ตั้งอยู่ที่ ห้อง 407 ชั้น 4 อาคาร 100 ปี ซึ่งมีระบบความปลอดภัย กล่าวคือ มีเครื่องแสกนนิ้วติดตั้งบริเวณหน้าประตูห้อง (อยู่ในระหว่างดำเนินการ) เพื่อเป็นการรักษาความลับ และอนุญาตให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้นที่สามารถเข้าไปภายในห้องสำนักงานจริยธรรมฯ ได้ ร่วมถึงมีระบบการจัดเก็บข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่เป็นความลับไว้ในตู้ซึ่งมีการล็อคกุญแจทุกครั้ง และห้ามนำเอกสารงานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งเป็นความลับออกนอกสำนักงานจริยธรรมฯ,มีการจัดเก็บข้อมูลไว้ใน CD และเฟตไดค์เพื่อสำรองข้อมูลไว้ และป้องกันข้อมูลสูญหาย รวมทั้งเก็บข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้เฉพาะ ซึ่งอยู่ในสำนักงานจริยธรรมฯ เท่านั้น พร้อมทั้งมีการตั้งรหัสล็อคคอมพิวเตอร์ไว้ และเปลี่ยนรหัสทุกๆเดือนและเพื่อป้องกันข้อมูลรั่วไหล ได้มีข้อกำหนดให้คณะกรรมการจริยธรรมฯ จะต้องเข้ามาอ่านงานโครงการวิจัยภายในห้องจริยธรรมฯ เท่านั้น จะไม่มีการส่งข้อมูลผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกทุกชนิด เพื่อป้องกันมิให้บุคคลภายนอกเข้าข้อมูลจริยธรรมฯ อีกทั้ง มีการจัดทำหนังสือตกลงรักษาความลับให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านรับทราบตามเงื่อนไขและลงนามในหนังสือรักษาความลับด้วย

กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เช่น การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสร้างสรรค์ การจัดให้มีศาสตราจารย์ อาคันตุกะหรือศาสตราจารย์รับเชิญ (Visiting Professor)

ศูนย์ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ โดยมี “คลินิกวิจัย”เพื่อให้คำปรึกษาและความรู้เกี่ยวกับงานวิจัยให้กับนักศึกษา คณาจารย์ และนักวิจัย จากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการวิจัย และดำเนินการในรูปแบบบริการวิชาการ และการสัมมนา

มหาวิทยาลัยส่งเสริมการดำเนินการกับเครือข่ายด้านการวิจัย และร่วมจัดการประชุมวิชาการทั้งระดับชาติและนานาชาติ เพื่อให้เกิดบรรยากาศในการวิจัย

มหาวิทยาลัยมีการดำเนินการกับเครือข่ายด้านการวิจัย โดยบรรรจุเป็นโครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการทำวิจัยและการผลิตงานสร้างสรรค์ และมีการดำเนินการ ดังนี้

1. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยา ครั้งที่ 10 (NCSAG2019) “วิจัย นวัตกรรม นำการพัฒนาท้องถิ่น” ระหว่างวันที่ 4-5 กรกฎาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

2. การประชุมวิชาการระดับชาติ The 6th Engagement Thailand Annual Conference 2019 “พันธกิจสัมพันธ์ตามศาสตร์พระราชา เพื่อสร้างคุณค่าและพัฒนาชุมชนท้องอย่างยั่งยืน” เวทีนำเสนอแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ความคิด และมุมมองด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน ระหว่างวันที่ 3-5 กรกฎาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์

3. งานมหกรรมสระแก้วเมืองแห่งความสุขภายใต้ 4 ดี วิถีพอเพียง (Sa Kaeo Happiness Model) “สืบสานพระราชปณิธาน รักษา ต่อยอด สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” ระหว่างวันที่ 3-5 กันยายน 2562 ณ หอประชุมปางสีดา และศูนย์การเรียนรู้สระแก้ว 4 ดี วิถีพอเพียง ศูนย์ราชการจังหวัดสระแก้ว ศาลากลางจังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว

4. งานประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า”ประจำปี พ.ศ. 2562 ภายใต้หัวข้อ “ท้องถิ่นก้าวไกล ด้วยวิจัยและนวัตกรรม” ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา